ชำแหละ 8 อาการ เมื่อคุณเริ่มต้นที่จะเลิกสูบแบบหักดิบ รับมือยังไงให้รอด!
อาการถอนนิโคติน ที่คุณกำลังหักดิบเลิกสูบบุหรี่ อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้น จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระยะเวาที่คุณสูบ แต่ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวล เรามีวิธีรับมือ อาการถอนนิโคติน
อาการถอนนิโคติน ที่คุณกำลังหักดิบเลิกสูบบุหรี่ อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้น จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระยะเวาที่คุณสูบ แต่ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวล เรามีวิธีรับมือ อาการถอนนิโคติน
สูบบุหรี่มีผลทำให้ เกิดอาการประสาทหลอน..สารนิโคตินในบุหรี่เป็นตัวกระตุ้นให้มีการหลั่งสาร dopamine ในสมอง จนทำให้เกิดอาการประสาทหลอนขึ้นมาได้
ผักผลไม้รสเปรี้ยวทุกชนิด จะช่วยให้เราเลิกบุหรี่ได้ แต่ผักผลไม้ที่เหมาะสมที่สุดเห็นจะเป็นมะนาว
ส่วนผสมจากสมุนไพรหลัก 12 ชนิด และสมุนไพรธรรมชาติ กว่า 55 ชนิด ที่ผ่านการบ่มด้วยระยะเวลากว่า 20 ปีจนได้เอนไซม์ธรรมชาติ ประโยชน์ของสมุนไพรที่สกัดออกมาผ่านการทดลองใช้ ให้ผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่กว่า 5,000 คน และได้รับผลการเปลี่ยนแปลงมากว่า 98% ว่าลดการสูบและเลิกสูบบุหรี่ได้จริง
เอ็กไคนาเซีย
เอ็กไคนาเซีย (Echinacea) เป็นสมุนไพรที่ช่วยป้องกันการเป็นไข้หวัดทั่วไป และ การศึกษาพบว่ามีฤทธิ์อ่อนๆ ในการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจด้วย ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันระบบน้ำเหลือง คุณสมบัติเด่นของเอ็กไคนาเซีย คือกระตุ้นการทำงานของเม็ดเลือดขาว เพิ่มการผลิตเซลล์ T-Lymphocyte เพื่อต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอมมากขึ้น Tinn Candy ติณณ์ ใช้ผงสมุนไพร เอ็กไคนาเซีย มาเป็นส่วนผสมใน ลูกอมติณณ์
ตำรับสมุนไพรตรีผลา
จากการศึกษางานวิจัย มีงานวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรตำรับ “ตรีผลา” ออกมาอย่างมากมาย…จึงทำให้ทั่วโลกต่างยอมรับและนิยมใช้อย่างแพร่หลาย
พ่อแม่ที่ติดบุหรี่ ลูกๆ ก็มักอยากสูบบุหรี่ด้วย เพราะเห็นตัวอย่างจากพ่อและแม่ ในการใช้บุหรี่ เพื่อลดความตึงเครียด และผ่อนคลายในการเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ
เชื่อหรือไม่? ควันบุหรี่ที่พ่นออกมา หรือควันบุหรี่ที่สูดเข้าไปในปอดนั้น มันมีสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด!!ที่สำคัญ ส่วนประกอบหลักในควันบุหรี่ คือสาร นิโคติน , ทาร์ , คอร์บอนมอนอกไซด์ ,บิวเทน ,แอมโมเนีย ,ไซยาไนด์ ,สารหนู และฟีนอล
ควันที่เกิดจากตัวบุหรี่ เป็นควันที่ ผู้สูบบุหรี่ สูบจากมวนบุหรี่โดยตรง ควันเหล่านี้จะกรองด้วยตัวยาสูบในบุหรี่ชั้นหนึ่ง ก่อนที่จะถูกสูดหายใจเข้าไปในปอด และขณะที่ ควันจากการเผาไหม้ ที่ปลายบุหรี่ และควันลอยไปในอากาศ โดยไม่ผ่านการกรอง
เมื่อเทียบกับผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป โดยพบว่าหลังเลิกสูบ 10 ปี ความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปอดจะเท่ากับร้อยละ 30 ถึง 50 ของผู้ที่ยังคงสูบต่อไป อัตราเสี่ยงจะลดลงอย่างต่อเนื่อง